1.น.ส. ชฎาพร ทรัพย์แสง เลขที่ 29 ม.4/6
2.น.ส. บุษกร ยุทธการ เลขที่ 30 ม.4/6
3.น.ส. พัชรพร คล้ายบรรจง เลขที่ 31 ม.4/6
4.น.ส. รวิวรรณ ปานเพชร เลขที่ 32 ม.4/6
5.น.ส. วิชิตา พุ่มไสว เลขที่ 33 ม.4/6
วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
วันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
Diffusion and osmosis (English Language)
Diffusion and osmosis
osmosis
The osmosis of (Osmosis) is the movement of solvent. (Often referred to water) through a membrane from a solution of low concentration to high concentration solution (remember a little water and too much water through the membrane, such as membrane Or paper cellos defenseman that we used in our experiments).
osmosis
The osmosis of (Osmosis) is the movement of solvent. (Often referred to water) through a membrane from a solution of low concentration to high concentration solution (remember a little water and too much water through the membrane, such as membrane Or paper cellos defenseman that we used in our experiments).
***** show osmosis. The water moves very little water through the membrane. (semipermeable membrane) ****.
The osmosis pressure in two related species .
- Osmotic pressure (Osmotic pressure) is the pressure to resist the movement of a solvent through a membrane . Such as cell membranes.
( Osmotic pressure is the force that resists the motion of the water, the water moves from an area with a lot of water to an area with less water resistance , so if there is not much water movement . Water moves through the membrane significantly. ( Not much resistance = low osmotic pressure ) and osmotic water pressure low ).
- Firm pressure (turgor pressure) is the pressure inside the cell. Occurs due to osmosis , water enters the cell and push the cells to swell up or tune . When too much water into the cell if the cell may rupture . If a plant cell is usually due to the rupture of the cell wall, the cell shape .
The balance point of the spread . Osmotic pressure of solution = peak pressure up
Diffusion
Is the movement of particles from a substance to an area of high density material with low density . By the kinetic energy of the substance itself. ( I had exams Ent ) .
(key word is little substance to substance . Or areas where the substance will move to areas with less substance ) by the spread of the two types .
1.1) over conventional (Simple diffusion) is not broadcasting live carrier . Or help transport (carrier) Nothing like the spread of powdered potassium permanganate in water until the water is colored magenta and around the container . The powder scent or perfume smell
Figure 1 shows a simple diffusion (the substance to substance less).
Figure 2 shows the distribution of gas in the lungs.
1.2) diffusion ° Si Tate (Facilitated diffusion) the diffusion of water through a protein carrier (Carrier) embedded in the cell membrane directly to a protein carrier (carrier) is acting like a gate to get molecules into . and out of cells. Diffusion is faster than the diffusion rate of diffusion very simple example, the liver cells and endocytosis . Intestinal epithelial cells . This diffusion occurs in the cells of organisms only.
Figure 3 shows the diffusion ° Si Tate (less substance to substance but must have taken).
Factors that affect the spread .
1. Status of the substance . The maximum kinetic energy of gas diffusion rates are highest .
2 . Status message will spread through intermediaries . By means of the gas is the least resistance , the highest rate of diffusion .
3. Sized particles of the substance. The smaller particles have higher rates of high transmission .
4 . Distances substance dissolves in a unit time.
5 . Temperature affects the kinetic energy of the substance increases the rate of diffusion increases.
6. Pressure when the pressure increased to increase the density of the substance . Result in a higher rate of diffusion .
7. Difference between the two areas of concentration .
วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
การแพร่และการออสโมซิส
การออสโมซิส
การออสโมซิส (Osmosis) คือการเคลื่อนที่ของตัวทำละลาย (มักจะกล่าวถึงน้ำ) ผ่านเยื่อเลือกผ่านจากสารละลายที่เข้มข้นต่ำไปยังสารละลายที่เข้มข้นสูง (จำง่ายๆ น้ำมากไปน้ำน้อยและที่สำคัญต้องผ่านเยื่อเลือกผ่าน เช่น เยื่อหุ้มเซลล์ หรือกระดาษเซลโลเฟนที่เราใช่ในการทดลอง)
***** แสดงการออสโมซิส โดยน้ำมากเคลื่อนที่ไปน้ำน้อยผ่านเยื่อบางๆ (semipermeable membrane)****
การออสโมซิสมีแรงดันที่เกี่ยวข้อง 2 ชนิด คือ
- แรงดันออสโมติก (Osmotic pressure) คือแรงดันที่เกิดขึ้นเพื่อต้านการเคลื่อนที่ของตัวทำละลายที่ผ่านเยื่อบางๆ เช่นเยื่อหุ้มเซลล์
(แรงดันออสโมติกก็คือแรงที่ใช้ต้านการเคลื่อนที่ของน้ำไม่ให้น้ำเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีน้ำมากไปยังบริเวณที่มีน้ำน้อย ดังนั้น หากมีแรงต้านการเคลื่อนที่ของน้ำไม่มาก น้ำจะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อบางๆได้มาก (แรงต้านไม่มาก = แรงดันออสโมติกต่ำ)โดยน้ำมีแรงดันออสโมติกต่ำสุด)
- แรงดันเต่ง (turgor pressure) คือแรงดันที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ เกิดขึ้นเนื่องมาจากน้ำออสโมซิสเข้าไปภายในเซลล์แล้วดันให้เซลล์แต่งหรือบวมขึ้นมา เมื่อน้ำเข้าไปภายในเซลล์มากเกินไปในกรณีที่เป็นเซลล์สัตว์อาจเกิดการแตกได้ แต่หากเป็นเซลล์พืชมักจะไม่มีการแตกของเซลล์เนื่องจากมีผนังเซลล์คงรูปร่างไว้
โดยที่จุดสมดุลของการแพร่พบว่า แรงดันออสโมติกของสารละลาย = แรงดันแต่งสูงสุด
การแพร่ (diffusion)
คือการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความหนาแน่นสูงไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นของสารต่ำ โดยอาศัยพลังงานจลน์ของสารเอง (เคยออกข้อสอบเอนท์นะ)
(key word สำคัญ สารมากไปสารน้อย หรือบริเวณที่มีสารมากจะเคลื่อนที่ไปบริเวณที่มีสารน้อย) โดยการแพร่มี 2 แบบดังนี้
1.1) การแพร่แบบธรรมดา (Simple diffusion) เป็นการแพร่ที่ไม่อาศัยตัวพา หรือตัวช่วยขนส่ง (carrier) ใดๆเลย เช่น การแพร่ของผงด่างทับทิมในน้ำจนทำให้น้ำมีสีม่วงแดงจนทั่วภาชนะ การได้กลิ่นผงแป้ง หรือ การได้กลิ่นน้ำหอม
รูปที่ 1 เเสดงการเเพร่แบบธรรมดา (สารมากไปสารน้อย)
รูปที่ 2 เเสดงการแพร่ของเเก็สในปอด
1.2) การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated diffusion) เป็นการแพร่ของสารผ่านโปรตีนตัวพา (Carrier) ที่ฝังอยู่บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง โปรตีนตัวพา (carrier) จะทำหน้าที่คล้ายประตูเพื่อรับโมเลกุลของสารเข้าและออกจากเซลล์ การแพร่แบบนี้มีอัตราการแพร่เร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดามาก ตัวอย่างเช่น การลำเลียงสารที่เซลล์ตับและ เซลล์บุผิวลำไส้เล็ก การแพร่แบบนี้เกิดแบบนี้เกิดในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่
1.สถานะของสาร โดยแก็สมีพลังงานจลน์สูงสุดจึงมีอัตราการแพร่สูงสุด
2.สถานะของตัวกลางที่สารจะแพร่ผ่าน โดยตัวกลางที่เป็นแก็สจะมีแรงต้านน้อยที่สุดจึงทำให้มีอัตราการแพร่สูงที่สุด
3.ขนาดอนุภาคของสาร โดยอนุภาคยิ่งเล็กยิ่งมีอัตราการแพร่สูง
4.ระยะทางที่สารจะแพร่ในหนึ่งหน่วยเวลา
5.อุณหภูมิ โดยจะมีผลต่อการเพิ่มพลังงานจลน์ให้กับสารทำให้มีอัตราการแพร่เพิ่มสูงขึ้น
6.ความดัน เมื่อความดันเพิ่มสูงขึ้นจะเพิ่มความหนาแน่นให้กับสาร ส่งผลให้มีอัตราการแพร่เพิ่มสูงขึ้น
7.ความแตกต่างของความเข้มข้นสารระหว่าง 2 บริเวณ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)